เงินเดือน / โบนัส
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าคอมมิชชั่น/เบี้ยประชุม/ค่านายหน้า/ค่าจ้างฟรีแลนซ์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าลิขสิทธิ์/ค่ากู๊ดวิลล์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

เงินรายปีจากนิติกรรม/เงินจากคำพิพากษาของศาล
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ดอกเบี้ย (เงินกู้ยืม/เงินฝาก/พันธบัตร/หุ้นกู้/ตั๋วเงิน)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

เงินปันผล
เครดิตภาษีเงินปันผล
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

กำไรจากการขายคริปโต
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

เงินปันผลจากคริปโต
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

อื่นๆ
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าเช่า (บ้าน/ห้องเช่า/สิ่งปลูกสร้าง/ตึก/แพ)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าเช่าที่ดินเพื่อการเกษตร
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าเช่าที่ดินไม่ใช่เพื่อการเกษตร
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าเช่ายานพาหนะ
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าเช่าทรัพย์สินอื่นๆ
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ค่าผิดสัญญาเช่าซื้อ/ซื้อขายเงินผ่อน/เงินที่ยึดเนื่องจากขาดผ่อนส่ง
หักค่าใช้จ่าย
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

การประกอบโรคศิลปะอิสระ (แพทย์/ทันตกรรม/เภสัชกรรม/พยาบาล/กายภาพบำบัด/เทคนิคการแพทย์/ฝากครรภ์)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ทนาย/นักกฏหมาย
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

วิศวกร
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

สถาปนิค
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

นักบัญชี
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

ช่างประณีตศิลป์
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย


ค่ารับเหมา (แรงงาน/ค่าของ/รับเหมาก่อสร้าง)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

เงินได้จากธุรกิจ/พานิชย์/อุตสาหกรรมและอื่น
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย



นักแสดงสาธารณะ
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย



ขายอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นมรดก
ค่าใช้จ่ายหักเหมา
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย



ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้มุ่งการค้า/หากำไร
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย



อื่นๆ ระบุ
ค่าใช้จ่ายตามจริง
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

สถานภาพสมรส
1.) โสด (หย่า/ม่าย) ลดหย่อนได้ 60,000 บาท
2.) คู่สมรสมีเงินได้ แยกยื่นแบบ ลดหย่อนได้ 60,000 บาท
3.) คู่สมรสมีเงินได้ ยื่นรวม ลดหย่อนได้ 120,000 บาท
4.) คู่สมรสไม่มีเงินได้ ลดหย่อนได้ 120,000 บาท



บิดา - มารดา
ลดหย่อนได้ คนละ 30,000 บาท



บุตร
1.) บุตรที่เกิดก่อนปี 2561 ลดหย่อนได้ คนละ 30,000 บาท
2.) บุตรตั้งแต่คนที่ 2 ที่เกิดใน/หลังปี 2561 ลดหย่อนได้ คนละ 60,000 บาท
3.) บุตรบุญธรรม ลดหย่อนได้ คนละ 30,000 บาท (สูงสุดไม่เกิน 3 คน)
* กรณีที่ใช้สิทธิลดหย่อนของบุตรเกินจำนวน 3 คนแล้ว จะไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนของบุตรบุญธรรมได้ *
บุตรที่เกิดก่อน 2561 (คน)
บุตรตั้งแต่คนที่ 2 เป็นต้นไปที่เกิดใน/หลัง 2561 (คน)
บุตรบุญธรรม (คน)



ฝากครรภ์/คลอดบุตร (บาท)
ลดหย่อนได้ไม่เกิน 60,000 บาท

ทุพพลภาพ (คน)
ลดหย่อนได้ คนละ 60,000 บาท

ประกันสังคม
ปี 2566
1.) ผู้ประกันตนตามม. 33 สามารถลดหย่อนได้สูงสุด 9,000 บาท
2.) ผู้ประกันตนตามม. 39 สามารถลดหย่อนได้สูงสุด 5,184 บาท
3.) ผู้ประกันตนตามม. 40 สามารถลดหย่อนได้สูงสุด ไม่เกิน 840 – 3,600 บาท ตามที่จ่ายจริง
(สิทธิที่ใช้ได้อีก บาท)

เบี้ยประกันสุขภาพตนเอง
สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 25,000 บาท
* เบี้ยประกันชีวิตตนเองและเบี้ยประกันสุขภาพตนเอง รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท *
(สิทธิที่ใช้ได้อีก บาท)

เบี้ยประกันชีวิตตนเอง
สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท
* เบี้ยประกันชีวิตตนเองและเบี้ยประกันสุขภาพตนเอง รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท *
(สิทธิที่ใช้ได้อีก บาท)

เบี้ยประกันชีวิตของคู่สมรสที่ไม่มีเงินได้
สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท
(สิทธิที่ใช้ได้อีก บาท)

เบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดา
สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
(สิทธิที่ใช้ได้อีก บาท)

กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ RMF
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

กองทุนรวมเพื่อการออม SSF
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เงินสะสมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD)
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้เฉพาะ 40(1) แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เบี้ยประกันชีวิตแบบบำนาญ
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 200,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เงินสะสมกองทุน (กบข.)
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

กองทุนสงเคราะห์ครูเอกชน
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 500,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เงินสะสมกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

ค่าสนับสนุนพรรคการเมือง
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

ดอกเบี้ยซื้อที่อยู่อาศัย
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เงินลงทุนวิสาหกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise)
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

โครงการช้อปดีมีคืน (ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 15 ก.พ. 2566)
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 40,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

ค่าซื้อกองทุนไทยเพื่อความยั่งยืน (TESG)
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30% ของเงินได้ที่ต้องเสียภาษี แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เงินบริจาคเพื่อการศึกษา/โรงพยาบาล/สังคม
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่าของเงินบริจาคจริง แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เงินบริจาคทั่วไป
สามารถลดหย่อนภาษีได้ ตามที่บริจาคจริง แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน
สิทธิคงเหลือ
(สิทธิที่ใช้ได้ บาท)

เครดิตภาษี

อัพเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2567

**หมายเหตุ : โปรแกรมคำนวณนี้เป็นเพียงการคำนวณภาษีเบื้องต้นเท่านั้น


สรุป