Toggle navigation
Home
About us
รู้จักธรรมนิติ
เราคือธรรมนิติ
ประวัติความเป็นมา
บริษัทในเครือ
โครงสร้างองค์กร
Corporate Profile
คุณค่าที่ธรรมนิติยึดถือ
สารจากกรรมการจัดการคนที่่ 1
วิถีแห่งธรรมนิติ
วิถีถนอมรัก
เพลงธรรมนิติคู่ไทย
ครอบครัวธรรมนิติ
Dharmniti young Executive
กิจกรรมสร้างสุขพนักงาน
Service
บริการด้านธุรกิจกฎหมาย
บริกาด้านจัดทำบัญชี
บริการด้านตรวจสอบบัญชี
บริการด้านตรวจสอบภายใน
บริการด้านออกแบบ พัฒนาด้านเว็บไซต์และไอที
บริการห้องประชุมและสัมมนา
News & Update
ข่าวสาร
ประกาศธรรมนิติ
ข่าวสารธรรมนิติ
ความรู้
ด้านกฎหมาย
ด้านบัญชี
ด้านตรวจสอบบัญชี และตรวจสอบภายใน
ด้านพัฒนาการบริหารและศักยภาพบุคลากร
ด้านไอที
Lifestyle
Careers
Contact us
Intranet
Home
About us
รู้จักธรรมนิติ
เราคือธรรมนิติ
ประวัติความเป็นมา
บริษัทในเครือ
โครงสร้างองค์กร
Corporate Profile
คุณค่าที่ธรรมนิติยึดถือ
สารจากกรรมการจัดการคนที่่ 1
วิถีแห่งธรรมนิติ
วิถีถนอมรัก
เพลงธรรมนิติคู่ไทย
ครอบครัวธรรมนิติ
Dharmniti young Executive
กิจกรรมสร้างสุขพนักงาน
Service
บริการด้านธุรกิจกฎหมาย
บริกาด้านจัดทำบัญชี
บริการด้านตรวจสอบบัญชี
บริการด้านตรวจสอบภายใน
บริการด้านออกแบบ พัฒนาด้านเว็บไซต์และไอที
บริการห้องประชุมและสัมมนา
News & Update
ข่าวสาร
ประกาศธรรมนิติ
ข่าวสารธรรมนิติ
ความรู้
ด้านกฎหมาย
ด้านบัญชี
ด้านตรวจสอบบัญชี และตรวจสอบภายใน
ด้านพัฒนาการบริหารและศักยภาพบุคลากร
ด้านไอที
Lifestyle
Careers
Contact us
Intranet
รายได้รวมประจำปีของคุณ
เงินเดือน/ค่าจ้าง/โบนัส/บำนาญ (ต่อปี)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
เงินค่าจ้างทั่วไป/เบี้ยประชุม/ค่านายหน้า (ต่อปี)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ค่าใช้จ่ายและรายได้อื่นๆ
ค่าลิขสิทธิ์
ค่าลิขสิทธิ์ / ค่ากู๊ดวิลล์
ค่าลิขสิทธิ์ตลอดทั้งปี
เงินรายปีจากนิติกรรมหรือคำพิพากษา
รวมตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 50%
ไม่เกิน 100,000 บาท
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
รายได้ที่ได้จากการลงทุน
ดอกเบี้ยพันธบัตรเงินฝาก ฯลฯ (เฉพาะที่เลือกมาคำนวณภาษี)
รวมตลอดทั้งปี
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินปันผลจากกองทุนรวม (เฉพาะที่เลือกมารวมคำนวณภาษี)
รวมตลอดทั้งปี
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินปันผลบริษัทตามกฎหมายไทย(เฉพาะที่เลือกมาคำนวณภาษี)
รวมตลอดทั้งปี
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินปันผลบริษัทตามกฎหมายต่างประเทศ
รวมตลอดทั้งปี
เครดิตภาษีเงินปันผล
รวมตลอดทั้งปี
กำไรที่ได้จากการถือครองหรือครอบครองโทเคนดิจิทัล
รวมตลอดทั้งปี
กำไรที่ได้จากการขายโทเคนดิจิทัลหรือคริปโทเคอร์เรนซี
รวมตลอดทั้งปี
เงินปันผลประโยชน์จากกองทุนรวมอื่นๆ (เฉพาะที่เลือกมารวมคำนวณภาษี)
รวมตลอดทั้งปี
หักภาษี ณ ที่จ่าย
ค่าเช่า
ค่าเช่า ห้องเช่าคอนโด อพาร์ตเมนต์ บ้าน อาหาร แพ หรือสิ่งปลูกร้างอย่างอื่น
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 30%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
ค่าเช่า ที่ดินให้เช่าเพื่อทำการเกษตร
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 20%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
ค่าเช่า ที่ดินให้เช่าที่ไม่ใช่เพื่อทำการเกษตร
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 15%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
ค่าเช่า ยานพาหนะ
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 30%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
ค่าเช่า ทรัพย์สินอย่างอื่นนอกเหนือจากนี้
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 10%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
การผิดสัญญาเช่าซื้อ/ซื้อขายเงินผ่อน
ตลอดทั้งปี
หักเหมา 20%
วิชาชีพอิสระ
เงินวิชาชีพอิสระ
ประเภท
selected
แพทย์/พยาบาลประกอบโรคศิลปะ
ทนายความ/ที่ปรีกษากฏหมาย
วิศวกร
สถาปนิก
นักบัญชี
ประณีตศิลปกรรม
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 30%-60%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
รับเหมา
ค่ารับเหมา (ลงทุนจัดหาสัมภาระ)
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 60%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินได้อื่นๆ
ดอกเบี้ย
รวมคำนวณภาษี
ตลอดทั้งปี
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินปันผล
ตลอดทั้งปี
หักภาษี ณ ที่จ่าย
กำไรจากการขายกองทุนรวม RMF
กำไรจากการขายกองทุนรวม LTF
เงินได้จากกิจการซื้อมาขายไปไม่ได้ผลิตเอง
รวมตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา 60%
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์
อสังหาที่เป็นมรดก
รวมคำนวณภาษี
อสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ในเขตกรุงเทพ
หักภาษี ณ ที่จ่าย
อสังหาริมทรัพย์ที่อยู่นอกเขตกรุงเทพ
อสังหาที่ได้มาจากทางอื่น โดยไม่ได้มุ่งทางการค้า
รวมคำนวณภาษี
ราคาขายตามประเมิน
จำนวนปีปฏิทินที่ถือครอง
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินได้จากการเป็นนักแสดง
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
เงินได้จากการทำธุรกิจที่หักเหมาได้
ประเภท
selected
ขายที่ดินเงินผ่อน หรือการให้เช่าซื้อที่ดิน
เก็บค่าต๋ง จากการพนัน
ถ่าย ล้าง อัด ขยายรูป ภาพยนต์
กิจการอู่เรือ ที่ไม่ใช่การซ่อมเครื่องจักร เครืองกล
ทำรองเท้า เครื่องหนัง
เย็บ ปัก ถักเสื้อผ้า
เย็บ ปัก ถักเสื้อผ้า
ตกแต่งทรงผม หรือร่างกาย
ทำสบู่ เเชมพู เครื่องสำอาง
ทำวรรณกรรม (เขียนเอง พิมพ์ขายเอง)
ค้าอัญมณี
โม่ หรือย่อยหิน
ทำป่าไม้ สวนยางหรือไม้ยืนต้น
กิจการขนส่งหรือรับจ้างด้วยยานพาหนะ
ทำบล็อก ตรา พิมพ์ เย็บสมุดหรือเอกสาร
ทำเหมืองเเร่
ทำเตรื่องดื่มตามกฏหมายว่าด้วยภาษีเครื่องดื่ม
ทำเครื่องกระเบื้อง เครื่องเคลือบ เครื่องซีเมนต์ เครื่องดินเผา
ทำหรือจำหน่ายกระแสไฟฟ้า
ทำน้ำแข็ง
ทำกาว แป้งเปียก หรือลักษณะเดียว รวมถึงการทำแป้งต่างๆที่ไม่ใช่เครื่องสำอาง
ทำลูกโป่ง เครื่องแก้ว เครื่องพลาสติก หรือเครื่องยางสำเร็จรูป
ซักรัดหรือย้อมสี
รางวัลที่เจ้าของม้าได้รับจากการส่งม้าเข้าแข่งขัน
รับไถ่สินค้าที่ขายฝาก หรือไม่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจากการขายฝาก
ลมยาง ทำยางแผ่น หรือยางอื่นที่ไม่ใช่ยางสำเร็จรูป
ฟอกหนัง
ทำน้ำตาลหรือน้ำเหลืองของน้ำตาล
จับสัตว์น้ำ
กิจกรรมโรงเลื่อย
กลั่น หรือ หีบน้ำมัน
ให้เช่าซื้อสังหาริมทรัพย์ ที่ไม่ใช่เงินได้จากการเช่าทั่วๆไปตามมาตรา 40(5)
กิจการโรงสี
ทำเกษครกรรมประเภทไม้ล้มลุกหรือธัญชาติ
อบหรือบ่มใบยาสูบ
เลี้ยงสัตว์ทุกชนิด รวมถึงการขายวัตถุพลอยได้
ฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่าย รวมถึงการขายวัตถุพลอยได้
ทำนาเกลือ
ขายเรือกำปั่นหรือเรือที่มีระวางตั้งแต่6ตันขึ้นไป เรือกลไฟหรือเรือยนต์ที่มีระวางตั้งแต่5ตันขึ้นไป หรือแพ
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
หักเหมา
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
อื่นๆที่ไม่มีให้เลือกในรายการ
อื่นๆ
ตลอดทั้งปี
ค่าใช้จ่าย
ตามจริง
หักภาษี ณ ที่จ่าย
ย่อ
ค่าลดหย่อน
ค่าลดหย่อนส่วนบุคคล และ ครอบครัว
โสด
สมรส
คู่สมรส
สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้ 60,000 บาท
ค่าลดหย่อนคู่สมรส (ที่ไม่มีเงินได้)
บิดา-มารดา
สามารถใช้สิทธิลดหย่อนสำหรับเลี้ยงดูบิดามารดาของตนเองและของคู่สมรส ได้คนละ 30,000 บาท สูงสุดไม่เกิน 120,000 บาท
โดยบิดามารดาจะต้องมีอายุมากกว่า 60 ปี และมีรายได้ต่อปีไม่เกิน 30,000 บาท
บิดา
มารดา
บิดา (ของคู่สมรสที่ไม่มีเงินได้)
มารดา (ของคู่สมรสที่ไม่มีเงินได้)
บุตร
บุตรที่เกิดก่อนปี 2561
สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
บุตรคนที่ 2 ที่เกิดในปี 2561 หรือหลัง 2561
บุตรคนที่ 2 ซึ่งเกิดหลังปี 2561 สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้คนละ 60,000 บาท
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
บุตรบุญธรรม
สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท
หมายเหตุ : 1) สามารถใช้สิทธิลดหย่อนบุตรบุญธรรมได้สูงสุดไม่เกิน 3 คนเท่านั้น
2) กรณีที่ใช้สิทธิลดหย่อนของบุตรเกินจำนวน 3 คนแล้ว จะไม่สามารถใช้สิทธิลดหย่อนของบุตรบุญธรรมได้
0
1
2
3
ฝากครรภ์และคลอดบุตร
ค่าใช้จ่ายจากการฝากครรภ์และค่าคลอดบุตร สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกินท้องละ 60,000 บาท
อุปการะเลี้ยงดูผู้พิการ
หรือ ทุพพลภาพ
สามารถใช้สิทธิลดหย่อนได้คนละ 60,000 บาท
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ค่าลดหย่อนประกัน
ประกันสังคม
หมายเหตุ : ปี 2564 มีการปรับเปลี่ยนค่าลดหย่อนสำหรับประกันสังคม ดังนี้
1) ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 สามารถลดหย่อนได้สูงสุด 5,100 บาท
2) ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 สามารถลดหย่อนได้สูงสุด 3,483 บาท
3) ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 สามารถลดหย่อนได้สูงสุด ไม่เกิน 700, 1,000 และ 3,000 บาท ตามทางเลือกที่ 1-3 ตามลำดับ
ประกันชีวิตตนเอง
สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 100,000 บาท
หมายเหตุ : ประกันชีวิตตนเองและประกันสุขภาพตนเอง ลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท
ประกันสุขภาพตนเอง
สามารถลดหย่อนได้ตามจริง สูงสุดไม่เกิน 25,000 บาท
หมายเหตุ : ประกันชีวิตตนเองและประกันสุขภาพตนเอง ลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่รวมกันต้องไม่เกิน 100,000 บาท
ประกันชีวิตของคู่สมรสที่ไม่มีเงินได้
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท
ประกันสุขภาพบิดา มารดา
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
ค่าลดหย่อนเพื่อการออมเเละลงทุน
ค่าลดหย่อนดังต่อไปนี้ รวมกันทั้งหมด ต้องไม่เกิน 500,000 บาท ได้แก่ กองทุน RMF / กองทุน SSF / กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) / กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนสงเคราะห์ครูเอกชน / กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.) และประกันชีวิตแบบบำนาญ
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 15% ของเงินเดือน ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท
RMF
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 30% ของเงินได้ ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท
กองทุน กบข.
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 15% ของเงินได้ ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท
ประกันชีวิตแบบบำนาญ
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 15% ของเงินได้ ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท
กองทุนการออมแห่งชาติ กอช
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 13,200 บาท
เงินสมทบ กองทุนสงเคราะห์ครูเอกชน
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 15% ของเงินได้ ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 500,000 บาท
SSF
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 30% ของเงินได้ ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 200,000 บาท
เงินลงทุนธุรกิจวิสาหกิจเพื่อสังคม
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท
ค่าลดหย่อนกลุ่มอสังหาริมทรัพย์
ดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัย
สามารถลดหย่อนได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
สิทธิประโยชน์อื่นๆ
ค่าธรรมเนียมรับชำระเงินด้วยบัตรเดบิต
(ลดหย่อนได้ 1 เท่าตามที่จ่ายจริง)
บริจาค
เงินบริจาคเพื่อการศึกษา, รพ., สังคม
สามารถลดหย่อนภาษีได้ 2 เท่าของเงินบริจาคจริง แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังจากหักค่าลดหย่อนภาษี
เงินบริจาคทั่วไป
สามารถลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 10% ของเงินได้หลังจากหักค่าลดหย่อนภาษี
ค่าสนับสนุนพรรคการเมือง
สามารถลดหย่อนตามที่จ่ายจริง ได้สูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท
อัพเดตล่าสุดเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565
สรุป
ผลสรุป
เงินได้ทั้งหมด
หัก ค่าใช้จ่าย
หัก ค่าลดหย่อน
รายได้สุทธิ
อัตราภาษี
ภาษีที่จะต้องจ่าย
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
เครดิตภาษี (ที่จ่ายล่วงหน้า)
ภาษีที่จะต้องจ่ายเพิ่ม
ภาษีจะต้องได้รับคืน
รายได้
ค่าใช้จ่าย
ค่าลดหย่อน
สรุป